fbpx
Digital Learning Classroom
ข่าวการศึกษาความรู้ทั่วไป

ครูยุคใหม่ในยุคไทยแลน 4.0

แชร์เรื่องนี้

ความสำคัญของ “ครูยุคใหม่ในยุคไทยแลน 4.0” ขณะนี้บุคคลและหน่วยงานทุกภาคส่วนต่างตระหนักและเห็นความสำคัญของ

“ครูและบุคลากรทางการศึกษา”

ซึ่ง…เป็น “ผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้เพื่อคุณภาพของผู้เรียน”

ที่จะ…เป็น “คนคุณภาพ”

ดังนั้น…การส่งเสริมและกำหนดเชิงนโยบายที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปที่ต้นน้ำ คือ “ครู”

เพราะ…ครูจะเป็นผู้ที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ตัวลูกศิษย์

การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นดังนี้


ประเด็นแรก

พัฒนาการทาง…”เทคโนโลยี”

และ “กระแสสังคม” ที่เปลี่ยนไป

ได้ “ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในอาชีพ” ต่างๆ

.

ดังนั้น.. สิ่งสำคัญคือ

เด็กยุคใหม่จะ “ต้องมีความสามารถในการทำงาน”

ที่ต้องอาศัย..”ทักษะขั้นสูงในการคิดวิเคราะห์เป็น”

และ “คิดอย่างมีวิจารณญาณ”

รวมถึง “ทักษะในการเข้าใจผู้อื่น”


ประเด็นที่สอง

เรา….จะเตรียมการอย่างไร

“เพื่อการรองรับโลกอนาคต”

ซึ่ง…นั่นหมายความว่า

ระบบการศึกษา…

จำเป็นต้อง….

ปรับ “ระบบการจัดการศึกษา” ให้ทัน

กับ “ความต้องการจำเป็นของสังคม”

ที่จะต้องก้าวเข้าสู่ประเทศไทย 4.0

โดย…เน้นที่

“การพัฒนาผู้เรียนให้สามารถสร้างนวัตกรรม (Innovation)”

“สร้างผลงาน”

และการ “สร้างทักษะส่วนบุคคล (Soft skills)”


ในส่วนของการพัฒนาครูนั้นจะมี

“การปฏิรูประบบการผลิตครู”

“การพัฒนาครู”

โดย…การ “กำหนดทิศทางการผลิตครู”

และ “การพัฒนาครูประจำการ”

“หลักการผลิตครู”

โดย…การ “สร้างครูให้เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่”ให้ได้


สถาบันอุดมศึกษาที่ทำหน้าที่

ผลิตครูต้อง…

“เชื่อมโยงกระบวนการผลิตครู
ให้มีคุณลักษณะตามความต้องการ
จำเป็นของบริบทแต่ละพื้นที่ที่แตกต่างกัน”

“การสร้างจิตวิญญาณความเป็นครู”

สถาบันผลิตครูก็ต้อง…”ปรับกลยุทธ์การผลิต”

ให้…สามารถ “สร้างจิตวิญญาณความเป็นครู”

พัฒนา “ระบบการนิเทศของอาจารย์นิเทศก์”

นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ดำเนินการจัดตั้ง

“สถาบันคุรุพัฒนา”

ให้ทำหน้าที่ในการดูแลหลักสูตร

เพื่อการพัฒนาครูทั้งระบบ

ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ทั้ง สพฐ. สอศ. และ กศน.


ดังนั้นการ

“คิดนอกกรอบการศึกษาไทย”

เพื่อรองรับการปรับการเรียนการสอน

ด้วย “นวัตกรรม”

จึงมีความจำเป้นอย่างยิ่ง

ที่จะต้องได้รับการเปลี่ยนแปลง

อย่างในทันทีและรวดเร็ว

โดยประเด็นที่สำคัญที่สุด

คือ… “การแลกเปลี่ยนเรียนรู้”

“การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และการบริหารการศึกษา” “

หรือที่เรียกกันติดปากกันในตอนนี้ว่า

Professional Learning Community: PLC

ซึ่งหมายถึง Community of Practice (CoP)

ในการทำหน้าที่ครูนั่นเอง


ที่มา : นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

http://www.ksp.or.th/ksp2013/content/view.php?mid=92&did=1298&tid=

Comments

comments

ติดต่อ ดร.อนุศร หงษ์ขุนทด
error: Content is protected !!