fbpx
Digital Learning Classroom

ประวัติส่วนตัว

แชร์เรื่องนี้

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต Ph.D. (Doctor of Philosophy) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Kasetsart University) เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (Educational Communications and Technology) ปี 2558

นิสิตแลกเปลี่ยน ฝึกปฏิบัติงาน และเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพ University of Northern Colorado (UNC) ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2556

ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ศษ.ม. (Master of Education: M.Ed.) มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University) การบริหารการศึกษา (Educational Administration) ปี 2553

ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ศษ.ม. (Master of Education: M.Ed.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Kasetsart University) เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) ปี 2548

ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต ค.บ. (Western Music: B.Ed.) มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (Chandrakasem Rajabhat University) ดนตรีศึกษา (ดนตรีสากล) Bachelor of Education (Western Music) ปี 2540



วิทยากรบรรยาย

  1. การเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning)

  2. ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom)

  3. การเรียนรู้ผ่านโซเชียลมีเดีย (Social Media for Learning)

  4. เทคโนโลยีความจริงเสมือน (Augmented Reality: AR)

  5. การออกแบบการสอน (Instructional Design: ISD)

  6. การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Learning Environment)

  7. กิจกรรมการเรียนรู้ดนตรีในห้องเรียน (Musical learning activities in the classroom)

  8. การปฏิบัติเครื่องเป่าฮาร์โมนิก้าเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ (Harmonica practice to develop learning skills)


งานพิเศษ

    อาจารย์พิเศษ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (ปี พ.ศ. 2555 ถึงปัจจุบัน)


ผลงานทางวิชาการ

1. การพัฒนารูปแบบระบบการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อ 3 แบบ ด้านทักษะดนตรี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

(อ้างอิง) อนุศร หงษ์ขุนทด.  (2558). “การพัฒนารูปแบบระบบการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อ 3 แบบ ด้านทักษะดนตรี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา”.  วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎี บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. PDF
2. รูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านสำหรับการเรียนดนตรี (Model of Flipped Classroom Learning Environment for Music Lessons) วารสารศรีปทุมรัตน์ P. 119-129

(อ้างอิง) อนุศร หงษ์ขุนทด และ ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2558). รูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านสำหรับการเรียนดนตรี. วารสารศรีปทุมรัตน์. 15(2): 119-129. PDF
3. การพัฒนารูปแบบระบบการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อ 3 แบบ ด้านทักษะดนตรี สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา (Development of a Flipped-Classroom Learning System Model through Three Media Formats in Music Skills for Secondary School Students) วารสารศึกษาศาสตร์ P. 71-83

(อ้างอิง) อนุศร หงษ์ขุนทด และ ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2558). การพัฒนารูปแบบระบบการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อ 3 แบบ ด้านทักษะดนตรี สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์. 26(2): 71-83. PDF
4. การสร้างความรู้ด้วยตนเองจากการเชื่อมต่อ (Connectivism) เทคโนสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 6-7 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2558 หน้าที่ 24-27

(อ้างอิง) อนุศร หงษ์ขุนทด.  (2558). การสร้างความรู้ด้วยตนเองจากการเชื่อมต่อ (Connectivism). เทคโนสาร โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 6(6-7): 24-27. PDF

5. The Demand for an iPad Application in Secondary Level Classroom.  WASET 2013

(อ้างอิง) Hongkhunthod, A. and P. Srifa. 2013. “The Demand for an Ipad Application in Secondary Level Classroom” World Academy of Science, Engineering and Technology. 12(73): 1557-1561. PDF  WASET 2013

6. การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เครื่องเป่าฮาร์โมนิก้า สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (2548)

 (อ้างอิง) อนุศร หงษ์ขุนทด (2548) “การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เครื่องเป่าฮาร์โมนิก้า สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2” วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  Abstract บทคัดย่อ 

7. การใช้แท็บเล็ตเพื่อเป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โครงการห้องเรียนพิเศษ (Special Lab Project) โรงเรียน ด่านขุนทด สพป.นครราชสีมา.เขต 5 (2554)    PDF


ผลงานระดับชาติ 

1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1  เหรียญทอง ครูผู้บริหารจัดการเรียนการสอนด้วยการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ภาค 14

2. รางวัลรองชนะเลิศ ระดับเหรียญทอง ประเภทบุคคลยอดเยี่ยม (ครูผู้สอน) ด้านนวัตกรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในรายการรางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) ระดับชาติ  ประจำปี 2559

3. รางวัลชนะเลิศ ระดับเหรียญทอง ประเภทบุคคลยอดเยี่ยม (ครูผู้สอน) ด้านนวัตกรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในรายการรางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) ระดับชาติ  ประจำปี 2554

4. รางวัลครูสอนดี ระดับจังหวัดนครราชสีมา (อบจ.นครราชสีมา) ปี 2554

5. รางวัลหนึ่งแสนครูดี ระดับประเทศ 2554

6. ครูผู้ปฏิบัติงานดีเด่น เรื่อง ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามโครงการสายใยครูและศิษย์ (สพฐ.)

7. ครูที่ปรึกษานักเรียนแข่งขันศักยภาพระดับชาติ “สุดยอดเด็กไทยก้าวไกลสู่สากล” ระดับเหรียญเงิน กิจกรรมการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ประจำปีการศึกษา 2552 (สพฐ.)

8. รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ประเภทครู/อาจารย์ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร (2552)  PDF

9. รางวัล “ครูดีในดวงใจ” จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2551

10. ครูคุณภาพ สายผู้สอน จากหนังสือพิมพ์แกนกลางรางวัล “ครูดีในดวงใจ” จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2551

11. ครูที่ปรึกษานักเรียนแข่งขันศักยภาพระดับชาติ “เก่งสร้างชาติ” ระดับเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 กิจกรรมการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2551 (สพฐ.)

Comments

comments

Powered by Facebook Comments

ติดต่อ ดร.อนุศร หงษ์ขุนทด
error: Content is protected !!