fbpx
Digital Learning Classroom
นโยบายการศึกษาหนังสือคู่มือ

การติดตามประเมินผลการนำนโยบายสพฐ. และนโยบาย ศธ. ไปสู่การปฏิบัติของ สพท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

แชร์เรื่องนี้

การติดตามประเมินผลการนำนโยบายสพฐ. และนโยบาย ศธ. ไปสู่การปฏิบัติของ สพท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ประเด็น

1. นโยบายการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

2. การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ

ระดับกระทรวงศึกษาธิการโดย รมว.ศธ. นางสาวตรีนุช เทียนทอง

  • เป็นเอกสาร ได้แก่
    • ประกาศกระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวกับนโยบาย และการติดตามนโยบาย 
    • คำสั่งของกระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวข้องการติดตามนโยบาย
  • การประชุมที่สาคัญ 

เมื่อวันพุธที่ 2 มีนาคม 2565 : VDO-Conferenceของการประชุม ผอ. สพท. ครั้งที่ 2/2565 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่

    • ผู้บริหารระดับสูงของทุกหน่วยใน ศธ. และบุคลากร ศธ.ในส่วนกลาง 
    • ผอ.สพท. 265 คน และบุคลากรในสังกัด สพท.
    • ศึกษาธิการภาคและบุคลากรในสังกัด 18 ภาค ศึกษาธิการจังหวัดและบุคลากรในสังกัด 77 จังหวัด

เน้นนโยบาย

  • ความปลอดภัย MOE Safety Center, 
  • โครงการพาน้องกลับมาเรียน,
  • โรงเรียนคุณภาพ

ระดับ สพฐ.

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดร.อัมพร พินะสา

  • เมื่อวันพุธที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ได้ประชุม ผอ. สพท. 265 เขต ทาง Zoom Meeting เรื่อง การชี้แจงและสร้างความเข้าใจการติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบาย จุดเน้น สพฐ. และนโยบาย ศธ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

## ให้ ทุกส่วน และ ทุกระดับ ได้ร่วมกันสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงาน

  • ประชุม ผอ. สพท. ในทุกวันพุธแรกของเดือน 
  • สุ่ม สพท. /กลุ่มเขตตรวจราชการสังกัด สพฐ. ให้เสนอผลงาน ข้อเสนอแนะ การนานโยบาย ฯ ไปสู่การปฏิบัติ ในพุธที่ 2 ถึงพุธที่ 4 ของเดือน 

## และได้ประกาศว่า ……..

“ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :ปีทองของการนิเทศ กำกับติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน”

2.2 รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายวัลลพ สงวนนาม(ช่วงมกราคม –กุมภาพันธ์ 2565) 

2.3 รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายพัฒนะ พัฒนทวีดล

เน้น “รายงานผลความก้าวหน้าของงาน แบบReal Time”

3. การดำเนินงานติดตามประเมินผลการนำนโยบาย สพฐ. และนโยบาย ศธ.สู่การปฏิบัติของ สพท.

3.1 วัตถุประสงค์

  1.  ติดตามประเมินผล เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของ สพท.ตามนโยบาย สพฐ. นโยบาย ศธ.
  2. เพื่อค้นหาปัจจัย (factor) ที่สะท้อนภาพปัจจุบันของ สพท. ในการนำนโยบาย สพฐ. นโยบาย ศธ. ไปสู่การปฏิบัติ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ
  3. เพื่อรายงานผล เผยแพร่ผลการดำเนินงาน

3.2 หลักการทำงาน

1.การเชื่อมโยงการทำงานร่วมกัน

    • ส่วนกลาง : สนผ., สพร., ศนฐ., สศศ., ผู้ตรวจราชการ สพฐ.(ที่ปรึกษาสพฐ. ผชช.สพฐ.) 
    • ส่วนภูมิภาค : ประธานกรรมการกลุ่มเขตตรวจราชการ, สพท.; ผอ.สพท., ผู้บริหาร สพท., ศึกษานิเทศก์ สพท., บุคลากรสพท. 

2. การปฏิบัติงานที่ยึดพื้นที่เป็นฐาน 

ใช้วิธีการติดตามที่หลากหลายตามสภาพบริบท เพื่อเข้าถึงข้อมูลของเขตพื้นที่ และนวัตกรรมขับเคลื่อนงาน

3. ติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา

ดูความก้าวหน้าของแต่ละเขต สะท้อนภาพจริง อธิบายถึงปัจจัย ผลที่เกิดขึ้น

3.3 ขั้นตอนการปฏิบัติงานติดตามประเมินผล

3.4 ช่องทางการรายงานผล

หลากหลายตามความเหมาะสม

  • e-MES: ตามแบบติดตาม ฯที่สพฐ.กำหนดระยะเวลาไว้
  • i-MES: ประเด็นท้าทายของ ผอ.สพท. (Performance agreement: PA)และ รายงานผลแบบ Real time (Quick Policy: QP)
  • Conference ทาง Zoom meeting: สุ่ม สพท. /กลุ่มเขตตรวจราชการสังกัด สพฐ. โดยตรงกับ เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในวันพุธที่ 2 ถึง 4 ของเดือน

* เชิงประจักษ์ที่เขตพื้นที่การศึกษา

4. ผลที่คาดหวังของการดำเนินงานติดตามประเมินผล

ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของ  อังคณา สุขเสวี สตผ. สพฐ.

Comments

comments

Powered by Facebook Comments

ติดต่อ ดร.อนุศร หงษ์ขุนทด
error: Content is protected !!