fbpx
Digital Learning Classroom
ข่าวการศึกษาสมรรถนะดิจิทัล

โครงการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

แชร์เรื่องนี้

โครงการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ฝึกอบรมระหว่างวันที่ 2 มิถุนายน – 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565

สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันที่ 7 มิถุนายน 2565 เท่านั้น!!!

ลิงค์สำหรับกรอกข้อมูลส่วนตัว ของผู้สนใจเข้าร่วมอบรมโครงการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลขั้นพื้นฐาน
https://forms.gle/4fz1HqGjdANJJhns7

ลิงค์สำหรับเข้าสู่ระบบ
https://learning-obec.com

กรอบมาตรฐานสมรรถนะดิจิทัลระดับพื้นฐาน (Basic Digital Competency : DC1 – DC3)

ขั้นตอนการเริ่มใช้งานระบบพัฒนาสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency)

ลิงค์สำหรับกรอกข้อมูลส่วนตัว ของผู้สนใจเข้าร่วมอบรมโครงการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลขั้นพื้นฐาน
https://forms.gle/4fz1HqGjdANJJhns7

ทำการลงทะเบียนเข้ารับการอบรมโดยกรอกข้อมูลให้ครบล โดยเฉพาะ วัน เดือน ปีเกิด (จะนำไปใช้เป้นรหัสผ่าน)

ทำการลงชื่อเข้าใช้งาน https://learning-obec.com


กรอกข้อมูล เลขประจำตัวประชาชน และรหัสคือ วันเดือนปีเกิด

ดำเนินการกรอกข้อมูลส่วนตัวให้ครบ

จากนั้นจะปรากฏหลักสูตร DC1-DC3 ให้ทำการเลือก

จะปรากฏหลักสูตร DC1 สามารถคลิกเมาส์เข้าเรียนได้ทันที

เมนู เรียน

เนื้อหาการเรียนจะประกอบไปด้วย 8 หน่วยการเรียนรู้

หน่วยที่ 1 แนะนำ Digital Quotient, Digital Citizenship และ Digital Literacy

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Quotient)

บทที่ 3.1 ความฉลาดทางดิจิทัลคืออะไร

บทที่ 3.2 ความฉลาดทางดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

บทที่ 3.3 กรอบความรู้ของความฉลาดทางดิจิทัล

บทที่ 3.4 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับความฉลาดทางดิจิทัล

บทที่ 4 ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship)

บทที่ 4.1 ความเป็นพลเมืองดิจิทัลคืออะไร

บทที่ 4.2 ความเป็นพลเมืองดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

บทที่ 4.3 กรอบความรู้ของความเป็นพลเมืองดิจิทัล

บทที่ 4.4 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดิจิทัล

บทที่ 5 การเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy)

บทที่ 5.1 การเข้าใจดิจิทัลคืออะไร

บทที่ 5.2 การเข้าใจดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

บทที่ 5.3 กรอบความรู้ของการเข้าใจดิจิทัล

บทที่ 5.4 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการเข้าใจดิจิทัล

บทที่ 6 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 2 มารยาทในสังคมดิจิทัล (Digital Etiquette)

หน่วยที่ 3 รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ (Media and Information Literacy)

เนื้อหาในหน่วยที่ 3 รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ (Media and Information Literacy)

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 หลักการพื้นฐานของสื่อและผู้เผยแพร่สื่อ

  • บทที่ 3.1 นิยามของสื่อ
  • บทที่ 3.2 กระบวนการสื่อสาร
  • บทที่ 3.3 ประเภทของสื่อ

บทที่ 4 แนวคิดการรู้เท่าทันและวิเคราะห์สื่อ

  • บทที่ 4.1 การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศคืออะไร    
  • บทที่ 4.2 ทักษะสำคัญของการรู้เท่าทันสื่อและการวิเคราะห์
  • บทที่ 4.3 แนวทางการรู้เท่าทันสื่อและการวิเคราะห์

บทที่ 5 รู้เท่าทันข่าวปลอมจากสื่อดิจิทัล

  • บทที่ 5.1 ความหมายของข่าวปลอม
  • บทที่ 5.2 ลักษณะของข่าวปลอม
  • บทที่ 5.3 ประเภทของข่าวปลอม
  • บทที่ 5.4 ผลกระทบของข่าวปลอม
  • บทที่ 5.5 การตรวจสอบข่าวปลอม

บทที่ 6 การจัดการสารสนเทศสำหรับสื่อดิจิทัล

  • บทที่ 6.1 เครื่องมือการจัดการ
    • บทที่ 6.1.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
    • บทที่ 6.1.2 อุปกรณ์สมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ต
  • บทที่ 6.2 วิธีการจัดการเบื้องต้น
    • บทที่ 6.2.1 การจัดเก็บหรือสำรองข้อมูล
    • บทที่ 6.2.2 การลบข้อมูล
    • บทที่ 6.2.3 การสร้างและเผยแพร่เนื้อหาสำหรับสื่อดิจิทัล
    • บทที่ 6.2.4 การรักษาความเป็นส่วนตัว

บทที่ 7 การส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อ           

  • บทที่ 7.1 ผู้ผลิตและสื่อมวลชน
  • บทที่ 7.2 พ่อแม่และผู้ปกครอง
  • บทที่ 7.3 ครูอาจารย์
  • บทที่ 7.4 ผู้รับสื่อ (เด็กและเยาวชน)

บทที่ 8 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

 

หน่วยที่ 4 ทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้และบำรุงรักษาอุปกรณ์ดิจิทัล

เนื้อหาในหน่วยที่ 4 ทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้และบำรุงรักษาอุปกรณ์ดิจิทัล

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 อุปกรณ์ดิจิทัล

  • บทที่ 3.1 อุปกรณ์ดิจิทัลคืออะไร
  • บทที่ 3.2 ประเภทของอุปกรณ์ดิจิทัล
  • บทที่ 3.3 แนะนำวิธีใช้งานทั่วไป

บทที่ 4 การใช้งานและการบำรุงรักษา

  • บทที่ 4.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
    • บทที่ 4.1.1 การใช้อุปกรณ์
    • บทที่ 4.1.2 การบำรุงรักษา
      • บทที่ 4.1.2.1 การบำรุงรักษาฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
      • บทที่ 4.1.2.2 วิธีสังเกตอุปกรณ์ก่อนเกิดปัญหา
      • บทที่ 4.1.2.3 ความเสียหายด้านซอฟต์แวร์
    • บทที่ 4.1.3 ตัวอย่าง
  • บทที่ 4.2 อุปกรณ์สมาร์ตโฟน
    • บทที่ 4.2.1 การใช้อุปกรณ์
    • บทที่ 4.2.2 การบำรุงรักษา
    • บทที่ 4.2.3 ตัวอย่าง
  • บทที่ 4.3 อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าดิจิทัล
    • บทที่ 4.3.1 การใช้อุปกรณ์
    • บทที่ 4.3.2 การบำรุงรักษา
    • บทที่ 4.3.3 ตัวอย่าง
  • บทที่ 4.4 อุปกรณ์ด้านเครือข่าย
    • บทที่ 4.4.1 การใช้อุปกรณ์
    • บทที่ 4.4.2 การบำรุงรักษา
    • บทที่ 4.4.3 ตัวอย่าง

บทที่ 5 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 5 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลพื้นฐาน (Using Basic Digital Technology) เพื่อสนับสนุนกระบวน การทำงาน

เนื้อหาในหน่วยที่ 5 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลพื้นฐาน (Using Basic Digital Technology) เพื่อสนับสนุนกระบวน การทำงาน

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนกระบวนการทำงาน

  • บทที่ 3.1 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลคืออะไร
  • บทที่ 3.2 ข้อควรระวังในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
  • บทที่ 3.3 เครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัลที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพและการเรียนรู้
    • บทที่ 3.3.1 เครื่องมือ: คอมพิวเตอร์ฃ
      • บทที่ 3.3.1.1 ประเภทของคอมพิวเตอร์
      • บทที่ 3.3.1.2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
    • บทที่ 3.3.2 เครื่องมือ: สมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ต
      • บทที่ 3.3.2.1 ลักษณะสำคัญของสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ต
      • บทที่ 3.3.2.2 การเลือกใช้งานสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ต
      • บทที่ 3.3.2.3 รู้จักแอปพลิเคชัน
    • บทที่ 3.3.3 ระบบ: การทำงานกับอินเทอร์เน็ต
      • บทที่ 3.3.3.1 เครือข่ายอินเทอร์เน็ตคืออะไร
      • บทที่ 3.3.3.2 การทํางานของอินเทอร์เน็ต
      • บทที่ 3.3.3.3 เทคโนโลยีคลาวด์คืออะไร
    • บทที่ 3.3.4 แอปพลิเคชันซอฟต์แวร์: การประมวลข้อความ
    • บทที่ 3.3.5 แอปพลิเคชันซอฟต์แวร์: การคำนวณตาราง
    • บทที่ 3.3.6 แอปพลิเคชันซอฟต์แวร์: การนำเสนอ
    • บทที่ 3.3.7 แอปพลิเคชันซอฟต์แวร์: การสื่อสารออนไลน์
      • บทที่ 3.3.7.1 การสื่อสารออนไลน์ด้วย Facebook
      • บทที่ 3.3.7.2 การสื่อสารออนไลน์ด้วย Facebook Messenger
      • บทที่ 3.3.7.3 การสื่อสารออนไลน์ด้วย Twitter
      • บทที่ 3.3.7.4 การสื่อสารออนไลน์ด้วย YouTube
      • บทที่ 3.3.7.5 การสื่อสารออนไลน์ด้วย LINE
      • บทที่ 3.3.7.6 การสื่อสารออนไลน์ด้วย IG
      • บทที่ 3.3.7.7 การสื่อสารออนไลน์ด้วย Clubhouse
      • บทที่ 3.3.7.8 การสื่อสารออนไลน์ด้วย TikTok

บทที่ 4 ซอฟต์แวร์เฉพาะกิจ

  • บทที่ 4.1 ซอฟต์แวร์สำหรับการทำธุรกรรมทางการเงิน
    • บทที่ 4.1.1 แอปพลิเคชันธนาคาร
    • บทที่ 4.1.2 แอปพลิเคชัน Digital Wallet
  • บทที่ 4.2 ซอฟต์แวร์สำหรับการซื้อขายออนไลน์
    • บทที่ 4.2.1 การสมัครสมาชิก
    • บทที่ 4.2.2 การเลือกซื้อสินค้าและการขนส่ง
    • บทที่ 4.2.3 การชำระเงินและการส่งหลักฐานการชำระเงิน
    • บทที่ 4.2.4 การคืนสินค้าและขอคืนเงิน
    • บทที่ 4.2.5 การเก็บหลักฐานเพื่อส่งคืนสินค้า
    • บทที่ 4.2.6 ข้อควรระวัง
    • บทที่ 4.2.7 วิธีการขายสินค้าออนไลน์

บทที่ 5 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 6 การวิเคราะห์ภารกิจให้รู้เป้าหมาย พันธกิจ และกระบวนการทำงาน โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนในการทำงานร่วมกัน

เนื้อหาในหน่วยที่ 6 การวิเคราะห์ภารกิจให้รู้เป้าหมาย พันธกิจ และกระบวนการทำงาน โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนในการทำงานร่วมกัน

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 การปรับเปลี่ยนเป็นเทคโนโลยีดิจิทัล

  • บทที่ 3.1 การปรับเปลี่ยนเป็นเทคโนโลยีดิจิทัลคืออะไร
  • บทที่ 3.2 ประโยชน์ของเทคโนโลยีดิจิทัล
  • บทที่ 3.3 วัตถุประสงค์ของการปรับเปลี่ยนเป็นดิจิทัล
  • บทที่ 3.4 การปรับตัวขององค์กร

บทที่ 4 แนวทางการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้งาน

  • บทที่ 4.1 ผู้รับบริการและพฤติกรรมดิจิทัล
  • บทที่ 4.2 คุณค่าของความเป็นดิจิทัล
  • บทที่ 4.3 รูปแบบสินค้าและบริการ
  • บทที่ 4.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
  • บทที่ 4.5 โครงสร้างองค์กร
  • บทที่ 4.6 การบริหารการจัดการ

บทที่ 5 ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนเป็นดิจิทัลเบื้องต้น

  • บทที่ 5.1 งานให้บริการทั่วไป
    • บทที่ 5.1.1 การยืนยันตัวบุคคลด้วยบัตรประชาชน
    • บทที่ 5.1.2 การส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
    • บทที่ 5.1.3 การรับข้อมูลด้วยแบบฟอร์มออนไลน์
    • บทที่ 5.1.4 การแจ้งข้อมูลกลับแก่ผู้รับบริการ
    • บทที่ 5.1.5 การติดต่อผู้รับบริการแบบออนไลน์
    • บทที่ 5.1.6 การให้บริการด้วยระบบดิจิทัล
    • บทที่ 5.1.7 การดึงข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • บทที่ 5.2 งานเอกสารและข้อมูล
    • บทที่ 5.2.1 การจัดทำเอกสารดิจิทัล
    • บทที่ 5.2.2 การรวมศูนย์เอกสารดิจิทัลของหน่วยงาน
    • บทที่ 5.2.3 การจัดทำเอกสารร่วมกันแบบออนไลน์
    • บทที่ 5.2.4 การสื่อสารกลุ่มแบบออนไลน์
    • บทที่ 5.2.5 การสื่อสารบุคคลแบบออนไลน์
    • บทที่ 5.2.6 การประชาสัมพันธ์ข้อมูลหน่วยงาน

บทที่ 6 ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนเป็นดิจิทัลของงานการศึกษา

  • บทที่ 6.1 การเรียนออนไลน์
  • บทที่ 6.2 การสอบแบบดิจิทัล
  • บทที่ 6.3 การใช้สื่อเรียนที่เป็นดิจิทัล
  • บทที่ 6.4 การติดต่อสื่อสารแบบออนไลน์กับผู้ปกครองและนักเรียน
  • บทที่ 6.5 การแจ้งผลการเรียนออนไลน์
  • บทที่ 6.6 การลงทะเบียนออนไลน์

บทที่ 7 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 7 การเชื่อมโยงข้อมูลในการสนับสนุนกระบวนการ

เนื้อหมาใน หน่วยที่ 7 การเชื่อมโยงข้อมูลในการสนับสนุนกระบวนการ

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 การเชื่อมโยงข้อมูลในการสนับสนุนการทำงาน

  • บทที่ 3.1 ข้อมูลและการเชื่อมโยง ประโยชน์ที่เกิดขึ้น
    • บทที่ 3.1.1 วัตถุประสงค์ของการเชื่อมโยงข้อมูล
  • บทที่ 3.2 กระบวนการทำงานและการเก็บข้อมูล
  • บทที่ 3.3 เทคโนโลยีการเชื่อมโยงข้อมูล
    • บทที่ 3.3.1 การเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูล
    • บทที่ 3.3.2 ตัวอย่าง : การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลระบบคลาวด์สำหรับการเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูล
  • บทที่ 3.4 เทคโนโลยีการบูรณาการฐานข้อมูล

บทที่ 4 แนวทางและเทคโนโลยีสำหรับการเชื่อมโยงข้อมูล

  • บทที่ 4.1 การเชื่อมโยงข้อมูลภายในหน่วยงาน
  • บทที่ 4.2 การเชื่อมโยงข้อมูลจากภายนอกหน่วยงาน
  • บทที่ 4.3 ข้อควรปฏิบัติในการเชื่อมโยงข้อมูล
  • บทที่ 4.4 ปริมาณและความครบถ้วนของข้อมูล

บทที่ 5 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 8 ความมั่นคงปลอดภัยทางดิจิทัล (Digital Security)

เนื้อหาในหน่วยที่ 8 ความมั่นคงปลอดภัยทางดิจิทัล (Digital Security)

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 ความมั่นคงปลอดภัย (Security)

  • บทที่ 3.1 ความมั่นคงปลอดภัยคืออะไร
  • บทที่ 3.2 เทคโนโลยีด้านความมั่นคงปลอดภัยในปัจจุบัน
  • บทที่ 3.3 การพิสูจน์ตัวบุคคล (Authentication)
    • บทที่ 3.3.1 National Digital ID (NDID)
    • บทที่ 3.3.2 กรณีศึกษา: การกดเงินไม่ใช้บัตร
  • บทที่ 3.4 การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)
    • บทที่ 3.4.1 ระบบของเทคโนโลยีการเข้ารหัสข้อมูล
    • บทที่ 3.4.2 การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีโครงสร้างพื้นฐานกุญแจสาธารณะ (Public Key Infrastructure)
    • บทที่ 3.4.3 กรณีศึกษา: วิธีการตรวจสอบการเชื่อมต่อเว็บไซต์
  • บทที่ 3.5 มัลแวร์ (Malware) และการโจมตี
    • บทที่ 3.5.1 Computer Virus และ Computer Worm
    • บทที่ 3.5.2 Trojan Horse
    • บทที่ 3.5.3 Ransomware
      • บทที่ 3.5.3.1 วิธีป้องกันการถูกล็อกไฟล์เรียกค่าไถ่
    • บทที่ 3.5.4 Phishing
      • บทที่ 3.5.4.1 วิธีป้องกันการถูกหลอกโจรกรรมข้อมูลจาก เว็บไซต์ปลอม
    • บทที่ 3.5.5 Adware
    • บทที่ 3.5.6 กรณีศึกษา: วิธีตรวจสอบอีเมลที่เป็นอันตรายเบื้องต้น
  • บทที่ 3.6 แนวทางการป้องกันด้านความมั่นคงปลอดภัย
    • บทที่ 3.6.1 การตั้งรหัสผ่านที่มั่นคงปลอดภัย
    • บทที่ 3.6.2 การใช้งานอุปกรณ์ดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตสาธารณะ อย่างมั่นคงปลอดภัย
    • บทที่ 3.6.3 สรุปวิธีการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลให้มั่นคงปลอดภัย
    • บทที่ 3.6.4 เกร็ดความรู้: ทิศทางการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ในอนาคต
    • บทที่ 3.6.5 กรณีศึกษา: การเปิดใช้งานการยืนยันแบบสองขั้นตอนสำหรับบัญชี Google

บทที่ 4 ความเป็นส่วนตัว (Privacy)

  • บทที่ 4.1 ความเป็นส่วนตัวคืออะไร
  • บทที่ 4.2 ร่องรอยดิจิทัล (Digital Footprint)
    • บทที่ 4.2.1 ประโยชน์และการหาประโยชน์จากร่องรอยดิจิทัล
    • บทที่ 4.2.2 กรณีศึกษา: ร่องรอยดิจิทัล
    • บทที่ 4.2.3 กรณีศึกษา: การละเมิดข้อมูลส่วนตัวผู้ใช้งาน Facebook
  • บทที่ 4.3 แนวทางการป้องกันและลดร่องรอยดิจิทัล

บทที่ 5 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

เมนู สถานะการเรียน

เมนู ประวัติการเรียน

เมนูสอบออนไลน์

เมนูแจ้งปัญหา

เมนูรายงาน

เมนูออกจากระบบ

Comments

comments

Powered by Facebook Comments

ติดต่อ ดร.อนุศร หงษ์ขุนทด
error: Content is protected !!