การบริหารจัดการโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ 1 รายวิชาพื้นฐานประวัติศาสตร์ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
หัวข้อการบรรยายการบริหารจัดการโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ 1 รายวิชาพื้นฐานประวัติศาสตร์ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย ดร.เกศทิพย์ ศุภวานิช รองเลขาธิการ กพฐ.
- การบูรณาการแหล่งเรีย
- สื่อ ฯ ที่ใช้ เข้าถึงใจนักเรียน
- ผลที่เกิดจากการปรับการจัดการเรียนรู้
การบูรณาการแหล่งเรียนรู้เป็นห้องเรียนรวมวิชา

Soft Powerในแหล่งเรียนรู้…สู่ห้องเรียนรวมวิชา
- เพิ่มครู (ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง)
- เพิ่มสื่อ แหล่งเรียนรู้ใกล้โรงเรียน
- ต่อยอด Active Learning

บูรณาการแหล่งเรียนรู้สู่ห้องเรียน
ใช้แทนห้องเรียนได้ ผ่านการรวบตัวชี้วัด ลดเนื้อหาที่ซ้ำซ้อน โดยไม่ต้องเรียนซ้ำในห้องเรียน

การบูรณาการความรู้กับแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์สู่การปฏิบัติจริง

การใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้เป็นห้องเรียนรวมรายวิชา
ครูผู้สอน
-
- จุดประสงค์ของการพานักเรียนมาแหล่งเรียนรู้คืออะไร
- ครูจะเชื่อมโยงความรู้จากแหล่งเรียนรู้เข้ากับวิชา/กลุ่มสาระที่สอนอย่างไร ยกตัวอย่าง
- ครูจะให้ นักเรียน นำความรู้ที่ได้จากแหล่งเรียนรู้ไปทำชิ้นงาน/กิจกรรม/โครงการอะไรต่อ
- ครูจะเสนอให้ปรับปรุง หรือเพิ่มเติมอะไรในแหล่งเรียนรู้
- ครูคิดว่าในพื้นที่ใกล้เคียงกับโรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้อะไรอีกที่น่าจะเป็นประโยชน์กับนักเรียน

การใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้เป็นห้องเรียนรวมรายวิชา
- ประโยชน์ของการมาแหล่งเรียนรู้คืออะไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากแหล่งเรียนรู้แต่ละจุด/กิจกรรม (ระบุอย่างน้อยคนละจุด/คนละกิจกรรม)
- นักเรียนคิดว่าจะนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตจริงอย่างไร
- นักเรียนคิดว่ากิจกรรมที่ทำในแหล่งเรียนรู้เชื่อมโยงกับวิชา/กลุ่มสาระใดบ้าง
- นักเรียนอยากไปดูแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับอะไรอีกบ้าง

สื่อที่ใช้เข้าถึงใจนักเรียน
การขับเคลื่อนการนำการ์ตูนแอนิเมชั่น “เดอะไดอารี่ ฯ” ไปใช้

การ์ตูนแอนิเมชั่นส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ผลที่เกิดจากการเรียนรู้













“รู้ค่าอคีต เข้าใจปัจจุบัน ปรับเผื่อเพิ่มคุณค่าในอนาคต”

เอกสารประกอบการบรรยาย
ที่มา: ดร.เกศทิพย์ ศุภวานิช รองเลขาธิการ กพฐ. นาทีที่ 00-48.31