แนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ และหน้าที่พลเมือง
สรุปแนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ และหน้าที่พลเมือง
เป้าหมายของการเรียนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
- เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
- เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย
หน้าที่พลเมือง
- ปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี
- มีค่านิยมที่ดีงาม
- ธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
- ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
- ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประซาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

สภาพปัจจุบัน ปัญหาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ และหน้าที่พลเมือง
- เน้นการเรียนรู้เชิงรับ (Passive Learning)
- มีรูปแบบตายตัวใช้ข้อมูลเพียงชุดเดียวในการเรียนรู้
- เริ่มต้นจากสิ่งไกลตัว
- ใช้สื่อตำราเรียน มากกว่าการใช้แหล่งเรียนรู้
- ถูกจำกัดให้เป็นเพียงสาระหนึ่งในการจัดการเรียนรู้
- ไม่ได้ถูกนำมาใช้ในการพัฒนาครู

บทบาทของหน่วยงานกับการขับเคลื่อนการเรียนการสอนประวัติศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- จัดทำประกาศ ศร. เรื่องการบริหารจัดการโครงสร้างหลักสูตร 8+1
- จัดกลุ่มตัวชี้วัด ประวัติศาสตร์หน้าที่พลเมือง
- ส่งเสริมการใช้ที่หลากหลาย และกันสมัย เช่น สื่อดิจิทัล การ์ตูนแอนิเมชั่น VR AR
- “One Team ประวัติศาสตร์ชาติไทย” ใน 7 พื้นที่
- ส่งเสริมและสร้างความตระหนักในบทบาทหน้าที่
- จัดโครงการ “Young Gen History Teacher OBEC” : YGHT
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ผลงาน
- ติดตาม ให้คำปรึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
- ส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
- สื่อสารสร้างการรับรู้
- จัดอบรมพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา
- พัฒนาศึกษานิเทศก์ต้นแบบ
- ลงพื้นที่ติดตามให้คำปรึกษา และถอดบทเรียน
สถานศึกษา
- จัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้แหล่งเรียนรู้ ท้องถิ่น ชุมชน
- ประเมินระหว่างเรียน ประเมินตามสภาพจริง และวิธีการประเมินที่หลากหลาย
- สนับสนุน กำกับ ติดตาม

การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2551
- กำหนดสาระประวัติศาสตร์เป็นหนึ่งสาระจาก 5 สาระฯ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
2552
- กำหนดเวลาเรียนชั้น ป.1 – ม.3 เรียน 40 ชม./ปี
- ชั้น ม.4 – 6 เรียนรวม 3 ปี 80 ชม.
2557
กำหนดจุดเน้นการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ 5 ประเด็น
- ความเป็นมาของชาติไทย
- สัญลักษณ์ของชาติไทย
- สถาบันพระมหากษัตริย์
- บรรพบุรุษไทย
- ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย
2559
- วิเคราะห์ตัวชี้วัด ต้องรู้ – ควรรู้ ของสาระประวัติศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
2561
ปรับโครงสร้างเวลาเรียน ได้อย่างยืดหยุ่น 8 กลุ่มสาระฯ ยกเว้น รายวิชาพื้นฐานประวัติศาสตร์
- ชั้น ป.1 – ม.3 เรียน 40 ชม./ปี
- ชั้น ม.4 – 6 เรียนรวม 3 ปี 80 ชม.
2565
จัดโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาตามนโยบาย 8 + 1 แยกประวัติศาสตร์ออกมาอย่างชัดเจน
- ชั้น ป.1 – ม.3 เรียน 40 ชม. /ปี ตามประกาศ ศร.
- ชั้น ม.4 – 6 เรียนรวม 3 ปี 80 ชม.





การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
- ตั้งประเด็นศึกษา
- เสาะหาแหล่งข้อมูลหลักฐาน
- รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วน
- วิเคราะห์ตรวจสอบ ประเมินคุณค่าหลักฐาน
- ตีความเพื่อตอบประเด็นศึกษาได้ว่า ทำไม และอย่างไร
- นำเสนอเรื่องราวที่ค้นพบได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ


การวัดและประเมินผลเชิงบูรณาการ
- จัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้แหล่งเรียนรู้ ท้องถิ่น ชุมชน
- ประเมินระหว่างเรียนประเมินตามสภาพจริง และวิธีการประเมินที่หลากหลาย
- สนับสนุน กำกับ ติดตามบทบาทสถานศึกษา

ตัวอย่างเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวัดและประเมินผลเชิงบูรณาการ
- เป้าหมายการเรียนรู้และวัตถุประสงค์การเรียนรู้โดยทั่วไป
กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ร่วมกัน
-
- สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (การคิด การสื่อสาร)
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย)
- มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด
- การวัดประเมินก่อนเรียน
- KPA (ที่จำเป็น/ส่งผลต่อการเรียนรู้) ข้อมูลนักเรียน จากกาคเรียนที่ผ่านมา ความถนัด ความสนใจ ผลการสำรวจแวงความสามารถพิเศษด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
- กำหนดจุดประสงค์ และกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ และการวัดประเมินระหว่างเรียน
- การเขียน story board (กาษาไทย) การออกแบบเครื่องแต่งกายตัวละคร (ศิลปะ) การทำคลิปตัวอย่าง/ปชส. (เทคโนโลยี) การอธิบายปรากฏการณ์ด้วยหลักวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์)
- การวางแผนการจัดการเรียนรู้
- ไช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
- ตั้งประเด็นศึกษา
- เสาะหาแหล่งข้อมูลหลักฐาน
- รวบรวมข้อนลที่เกี่ยวข้องได้ครบถ้วน
- วิเคราะห์ตรวจสอบประเมินคุณค่าหลักฐาน
- นำเสนอเรื่องราวที่ค้นพบได้อย่างมีเหตุผล และน่าสนใจ
- ไช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
- การวางแผนการจัดการเรียนรู้ และการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์
- กระบวนการกลุ่ม
- การถกแถลง
- อภิปราย
- สร้างคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์
- สื่อสารอย่างสร้างสรรค์
- การวางแผน
- การวัดประเมินหลังเรียน และการวัดประเมินระหว่างเรียน
- ละครประวัติศาสตร์ / การแสดงบทบาทสมมติ


วิธีการวัดประเมินที่ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์


คำถามที่ทรงพลัง (Power Questions)
- คำถามกระตุ้นให้มีจุดหมายในการคิด (focus questions)
- คำถามที่เสริมพลัง (empowerment questions)
- คำถามเชิงลึก (depth questions)
- คำถามกระตุ้นความปรารถนา (passion questions)
- คำถามกระตุ้นแรงบันดาลใจ (inspiration questions)

เทคนิคการตั้งคำถามและการให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
- รอเวลา
- ไม่มีการยกมือ
- การตั้งต่อยอด
- บัตรคำ ABCDE
- การสัมมนาแบบโสเครติส
- การตั้งคำถามแบบสืบสวน/สอบสวน
- การตอบเพิ่มเติม
- การตอบบนกระดาน (ไวท์บอร์ด)
- การตั้งคำถามโดยใช้ไม้ไอศกรีม
- การใช้คำถามแบบเจาะลึกความเข้าใจ

การให้ข้อมูลย้อนกลับที่พัฒนาการเรียนรู้
- Feed – up ทบทวนสาระสำคัญแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้กระตุ้นแรงจูงใจภายในสร้างความเชื่อมั่น
- Checking for understanding สังเกตพฤติกรรมชักถามผู้เรียนรายบุตคลให้ความช่วยเหลืออธิบายเพิ่มเติม
- Power questions ตั้งคำถามกระตุ้นการติด ใช้คำถามหลากหลาย ใช้เหดนิดกระตุ้นให้หาคำตอบ ชื่นชมคำตอบทุกคำตอบ
- Feedback สรุปสาระสำคัญร่วมกันชื่นชมในความพยายามสะท้อนจุดที่/จุดต้องพัฒนาแนะแนวทางการพัฒนา
- Feed – forward ให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ให้กำลังใจขี้ประเด็นที่ควรค้นคว้าเพิ่มใช้พลังคำถาม




การขับเคลื่อนและการนิเทศ กำกับ ติดตาม ฯ การเรียนการสอนประวัติศาสตร์
- สร้างความเข้าใจ ศึกษาหลักการ รูปแบบ วิธีการขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ : หลักสูตร การจัดการเรียนรู้
- การใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
- วิเคราะห์ เชื่อมโยง และวางแผนการนำไปใช้จัดการเรียนการสอน 2 รายวิชาประวัติศาสตร์ บูรณาการหน้าที่พลเมืองและกิจกรรมต่าง ๆ
- ใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์
- ร่วมคิด พาทำ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ บูรณาการหน้าที่พลเมือง ต่อยอด Active Learning และนำสู่การเรียนรู้ในห้องเรียนและนอกเรียน
- นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ การใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผลหลากหลาย ร่วมกับเครือข่ายหนุนเสริม
- สรุปและประเมินผล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best Practice/นวัตกรรม

แนวทางการดำเนินงานนิเทศเพื่อบูรณาการแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น/ประวัติศาสตร์กับหลักสูตรสถานศึกษา
- วางแผนร่วมกับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และเครือข่ายฯ สำรวจ ศึกษาวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น/แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ (ในเขตพื้นที่/ใกล้โรงเรียน)
- ร่วมวิเคราะห์ และบูรณาการตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้สาระต่าง ๆ กับแหล่งเรียนรู้ฯ เชื่อมโยงการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการเป็นห้องเรียนรวมวิชา
- ส่งเสริม
- ให้ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ศึกษา ณ แหล่งเรียนรู้บูรณาการวิธีการทางประวัติศาสตร์
- การใช้สื่อและการวัดประเมินผลการเรียนรู้ต่อยอด Active Learning
- สะท้อนผลการเรียนรู้ การคิดโดยใช้ประเด็นคำถาม
- ประเมินผล พัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครูและสถานศึกษา
- นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ที่ยั่งยืนโดยสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายฯ
.

เอกสารประกอบการเสวนา
ที่มา: การประชุมสื่อสารสร้างความเข้าใจการบริหารจัดการโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ 1 รายวิชาพื้นฐานประวัติศาสตร์ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เริ่มนาที ที่ 50.00