Site icon Digital Learning Classroom

การใช้ AI ในการทบทวนวรรณกรรมและวิเคราะห์ข้อมูล

แชร์เรื่องนี้

การใช้ AI ในการทบทวนวรรณกรรมและวิเคราะห์ข้อมูล

ตัวอย่างการเขียน Prompt ที่ 1

          ท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการทบทวนวรรณกรรมและช่วยระบุช่องว่าง หรือ Gaps ในการวิจัยที่น่าสนใจในในเรื่อง การจัดการเรียนรู้เชิงรุก แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับ CIPPA Model  

          ผมกำลังเริ่มทำวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา และต้องการหาหัวข้อวิจัยที่มีความใหม่ และเป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษา เพื่อคิดค้น และปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนรู้ประเด็นดังกล่าว  

           ต้องการรายการหัวข้อวิจัยที่น่าสนใจ 5-10 หัวข้อพร้อมคำอธิบายสั้น ๆ ถึงเหตุผลที่ควรวิจัยในหัวข้อนั้น 

           โปรดแนะนำแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องสำหรับหัวข้อที่เลือกเพื่อใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการทบทวนวรรณกรรม


ตัวอย่าง Prompt 2

     ช่วยวิเคราะห์หัวข้อวิจัยเรื่อง [หัวข้อวิจัย] ในประเด็นต่อไปนี้

  1. ระบุตัวแปรที่น่าสนใจ
  2. เสนอแนะระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสม
  3. ระบุแหล่งข้อมูลที่ควรศึกษา

เทคนิคการใช้ AI สำหรับการทบทวนวรรณกรรม

ขั้นที่ 1 การรวบรวม และเตรียมข้อมูล

ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์เบื้องต้น

ขั้นที่ 3 การจัดกลุ่มและจำแนกประเภท

ขั้นที่ 4 การสังเคราะห์เชิงลึก

ขั้นที่ 5 การสร้างข้อสรุปใหม่

ขั้นที่ 6 การตรวจสอบและยืนยันผล

ขั้นที่ 7 การนำเสนอผลการสังเคราะห์

ขั้นตอนการสังเคราะห์งานวิจัย

ขั้นที่ 1 การรวบรวมและเตรียมข้อมูล

ตัวอย่าง Prompt

ตัวอย่างสำหรับการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบปัญหาเป็นฐาน

   ช่วยวิเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบปัญหาเป็นฐานต่อไปนี้ [อาจแนบเนื้อหางานวิจัยกรุณาสรุปข้อมูลพื้นฐานดังต่อไปนี้

  1. ชื่องานวิจัยและผู้วิจัย
  2. ปีที่ศึกษา (2562-2566)
  3. ระดับชั้นที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
  4. รายวิชาที่ใช้จัดการเรียนรู้
  5. ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
  6. ระยะเวลาในการทดลอง
  7. ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวอย่าง Prompt

ช่วยวิเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับ CIPPA Model เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงและความคิดสร้างสรรค์ กรุณาสรุปข้อมูลพื้นฐานดังต่อไปนี้

  1. ชื่องานวิจัยและผู้วิจัย
  2. ปีที่ศึกษา (2562-2566)
  3. ระดับชั้นที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
  4. รายวิชาที่ใช้จัดการเรียนรู้
  5. ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
  6. ระยะเวลาในการทดลอง
  7. ตัวแปรที่ศึกษา

ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์เบื้องต้น

ตัวอย่าง Prompt

วิเคราะห์องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานจากงานวิจัย ตามประเด็นต่อไปนี้ 

  1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้

   – ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้

   – กิจกรรมที่ใช้

   – การวัดและประเมินผล

  1. ผลลัพธ์การเรียนรู้

   – ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

   – ทักษะที่พัฒนา

   – เจตคติของผู้เรียน

  1. ปัจจัยสนับสนุน

   – สื่อและเทคโนโลยีที่ใช้

   – การเตรียมความพร้อม

   – บทบาทของผู้สอน

ขั้นที่ 3 การจัดกลุ่มและจำแนกประเภท

ตัวอย่าง Prompt

จำแนกลักษณะการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานตามประเด็นต่อไปนี้

  1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้

   – การใช้ปัญหาจริง

   – การใช้สถานการณ์จำลอง

   – การใช้กรณีศึกษา

  1. การบูรณาการ

   – บูรณาการกับเทคโนโลยี

   – บูรณาการกับวิธีสอนอื่น

   – บูรณาการข้ามสาระวิชา

  1. ผลที่เกิดขึ้น

   – ด้านพุทธิพิสัย

   – ด้านทักษะพิสัย

   – ด้านจิตพิสัย

ขั้นที่ 4 การสังเคราะห์เชิงลึก

ตัวอย่าง Prompt

วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงลึกของการจัดการเรียนรู้ตามประเด็นต่อไปนี้

  1. ปัจจัยความสำเร็จ

   – ลักษณะของปัญหาที่ใช้

   – วิธีการจัดกิจกรรม

   – การสนับสนุนของผู้สอน

  1. อุปสรรคและข้อจำกัด

   – ด้านผู้เรียน

   – ด้านการจัดการ

   – ด้านทรัพยากร

  1. แนวทางการแก้ไขปัญหา

   – การปรับกิจกรรม

   – การเตรียมความพร้อม

   – การสนับสนุนการเรียนรู้

ขั้นที่ 5 การสร้างข้อสรุปใหม่

ตัวอย่าง Prompt

สังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานที่มีประสิทธิภาพตามประเด็นต่อไปนี้

  1. องค์ประกอบสำคัญ

   – หลักการและแนวคิด

   – ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้

   – บทบาทผู้สอนและผู้เรียน

  1. เงื่อนไขความสำเร็จ

   – การเตรียมการ

   – การดำเนินการ

   – การประเมินผล

  1. นวัตกรรมที่ได้

   – รูปแบบใหม่

   – เทคนิควิธีการ

   – เครื่องมือประเมิน

ขั้นที่  6 การตรวจสอบและยืนยันผล

ตัวอย่าง Prompt

วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของผลการสังเคราะห์ตามประเด็นต่อไปนี้ 

  1. ตรวจสอบความถูกต้อง

   – ความครอบคลุมของข้อมูล

   – ความสอดคล้องของผล

   – ความเป็นเหตุเป็นผล

  1. เปรียบเทียบกับทฤษฎี

   – ทฤษฎีการเรียนรู้

   – หลักการสอน

   – การประเมินผล

ขั้นที่ 7 การนำเสนอผลการสังเคราะห์

ตัวอย่าง Prompt

สรุปผลการสังเคราะห์เพื่อนำเสนอ ตามประเด็นต่อไปนี้

  1. ข้อค้นพบสำคัญ

   – รูปแบบที่มีประสิทธิภาพ

   – ปัจจัยความสำเร็จ

   – ข้อควรระวัง

  1. การนำไปประยุกต์ใช้

   – แนวทางการจัดการเรียนรู้

   – ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ

   – การพัฒนาต่อยอด

ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่นี่

Comments

comments

Powered by Facebook Comments

Exit mobile version