fbpx
Digital Learning Classroom
Active Learningหนังสือคู่มือ

คู่มือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ และวิดีทัศน์เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สำหรับครู สถานศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษา

แชร์เรื่องนี้

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. เผยแพร่คู่มือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ และวิดีทัศน์เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สำหรับครู สถานศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษา

แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 

แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สู่สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษา จำนวน 5 เล่ม 

วิดีทัศน์การอบรม “การขับเคลื่อนการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนผ่านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)” ณ จุดอบรม สพม. สุพรรณบุรี

   Ep 1: การจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning สู่การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

Ep 2: จากหลักสูตรสู่การพัฒนาสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน จากหลักสูตรแกนกลางสู่หลักสูตรสถานศึกษา การกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้และการออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก และการวัดและประเมินผลที่มุ่งพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน 

ตัวอย่างสถานศึกษาจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Soft Power) เป็นสถานการณ์ หรือสื่อการเรียนรู้ด้วยการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา

โรงเรียนนาหว้าพิทยาคม “ธาตุประสิทธิ์ประชานุเคราะห์” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนม

โรงเรียนเทศบาล 5 (แก้วปัญญาอุปถัมภ์) เทศบาลเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

โรงเรียนมหาราช 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 

ตัวอย่างการการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยใช้พิธภัณฑ์หรือแหล่งเรียนรู้ชุมชนเป็นฐาน

การใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนบ้านจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ 

การใช้พิพิธภัณฑ์บันดาลไทย

ที่มา: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. 

Comments

comments

Powered by Facebook Comments

ติดต่อ ดร.อนุศร หงษ์ขุนทด
error: Content is protected !!