fbpx
Digital Learning Classroom
วิทยะฐานะ

แนวทางการเขียนข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ครูชำนาญการพิเศษ ตามแนวทาง ว9/2564

แชร์เรื่องนี้

ตัวอย่างแนวทางการเขียนแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ (หัวข้อนี้สำหรับผู้ที่ต้องการคงวิทยฐานะ และเลื่อนเงินเดือน) โดเน้นแนวทางการเขียนให้เป็นครู B ที่หมายถึง ครูที่ตั้งใจที่จะมีงานที่ตอบทั้งตัวชี้วัด และประเด็นท้าทาย รูปแบบที่นำเสนอนี้ เหมาะสำหรับครูทุกท่าน ที่ต้องการให้ถูกใจผู้บริหาร และถูกใจตัวเอง แนวทางนี้ท่านทำงานแบบไม่หนักจนเกินไปครับ เพราะเป้นงานที่ทำประจำอยู่แล้ว ท่านสามารถแก้ไขกิจกรรมได้ตามต้องการครับ

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)

สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

โรงเรียน…………………………….. สำนักงานพื้นที่การศึกษา………………………….

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ………………..

ระหว่างวันที่………. เดือน……………………. พ.ศ…………… ถึงวันที่………เดือน…………………พ.ศ. …………………..

ผู้จัดทำข้อตกลง

ชื่อ…………………………………………นามสกุล………………………………………..ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

สถานศึกษา……………………………………………………………………… สังกัด…………………………………………………………….

รับเงินเดือนในอันดับ คศ. ………… อัตราเงินเดือน …………………. บาท 

ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัดการเรียนรู้จริง)

             ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน

             ห้องเรียนปฐมวัย

             ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ

             ห้องเรียนสายวิชาชีพ

             ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย

            ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง

  1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด

ภาคเรียนที่ 2/2564

1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ……………… ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน …………………….. ชั่วโมง/สัปดาห์

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ………… ชั่วโมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน …………………………………. ชั่วโมง/สัปดาห์

ภาคเรียนที่ 1/2565

1.5 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ……………… ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา………………………….. จำนวน …………. ชั่วโมง/สัปดาห์

1.6 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน …………………….. ชั่วโมง/สัปดาห์

1.7 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ………… ชั่วโมง/สัปดาห์

1.8 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน …………………………………. ชั่วโมง/สัปดาห์

2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู(ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่ง

  1. ด้านการจัดการเรียนรู้

ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน

งาน (Tasks)

หมายถึงงานที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ)

ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/2565

  1. สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร

สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตรโดยริเริ่มพัฒนารายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ วิชา…………… รหัสวิชา………………………………และวิชา…………… รหัสวิชา…………………….ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น เพื่อแก้ปัญหา………..ในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรนะ และการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพส่งผลให้คุณภาพการจัดการเรียนรู้สูงขึ้น และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร)

2. ออกแบบการจัดการเรียนรู้

2.1 ริเริ่มออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญวิชา…………… รหัสวิชา………………………………จำนวน…………..หน่วย (ทั้งรายวิชาสอนตามปกติ)และวิชา…………… รหัสวิชา………………………………จำนวน…………..หน่วย (ทั้งรายวิชาสอนตามปกติ) โดยจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์  และสมรรถนะที่สำคัญ ของหลักสูตรกลุ่มสาระ…………..

2.2 คิดค้นการออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้วิธีการสอนแบบ………….(รูปแบบการเรียนการสอนที่ต้องการ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่………………เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) ให้ผู้เรียนสามารถมีกระบวนการคิด และค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง สร้างแรงบันดาลใจ

2.3 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้)

  1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้

3.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการริเริ่ม การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) วิชา…………… รหัสวิชา……………………………..และวิชา…………… รหัสวิชา……………………..โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก โดยส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมทำงานร่วมกัน (Collaborative Learning) ส่งเสริมกระบวนการคิด และค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง

3.2 ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนานวัตกรรม สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้วิธีการสอนแบบ………….(รูปแบบการเรียนการสอนที่ต้องการ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีการเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิด และค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียน

3.3 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้)

4.  สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้

 ริเริ่ม คิดค้น พัฒนา………….(ตัวอย่าง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom)  และพัฒนาแหล่งเรียนรู้………. (ตัวอย่าง เว็บไซต์รายวิชา ด้วย Google Sites) ให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้วิธีการสอนแบบ………….(รูปแบบการเรียนการสอนที่ต้องการ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………….เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)   ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้มีทักษะการคิด และสามารถสร้างนวัตกรรมได้ และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ในการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้

(**ในการสร้าง และหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ สามารถเลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อสอนทั้งรายวิชา หรือเฉพาะเรื่องที่จะท้าทายก็ได้) 

5. วัดและประเมินผลการเรียนรู้

5.1 ริเริ่ม คิดค้นและพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลายเหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ด้วยวิธีการสร้างเครื่องมือประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) โดยใช้ Google form ที่สอดคล้องกับภาระงานที่มอบหมาย วิชา…………… รหัสวิชา………………………………จำนวน…………..หน่วย (ทั้งรายวิชาสอนตามปกติ) และวิชา…………… รหัสวิชา………………………………จำนวน…………..หน่วย (ทั้งรายวิชาสอนตามปกติ)  ดังนี้

1) พัฒนาเครื่องมือวัด ดังนี้

1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (กลางภาค/ปลายภาค)

1.2 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ประจำหน่วยการเรียนรู้

2) พัฒนาเครื่องมือประเมิน ดังนี้

2.1 แบบประเมินทักษะ……………….

2.2 แบบประเมินทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน

2.3 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

2.4 แบบประเมินสมรรถนะ

2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

5.2 ทำการวัดและประเมินผลให้ผู้เรียนได้รับพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประเมินผลการเรียนรู้ ด้วยวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) โดยใช้ Google formและนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มาใช้เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………….เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

5.3 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้)

  1. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และหรือวิจัย โดยมีการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์

6.1 ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ รายวิชาและหน่วยการเรียนรู้วิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร บริบทของสถานศึกษา

6.2 นำผลมาใช้ในการแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุกทั้งในห้องเรียนปกติ และห้องเรียนออนไลน์ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น

6.3 ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน (หัวข้อตามประเด็นท้าทายของครู) ดังนี้

1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก

2) กระบวนการเรียนรู้แบบ …………………

3) การเรียนรู้โดยใช้ Google Workspace for Education

4) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมใน การจัดการเรียนรู้

6.4 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์
เพื่อแก้ปัญหา (หรือ 
ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องของการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์
เพื่อแก้ปัญหา)

7. จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
 
ตัวอย่างที่ 1

ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาการจัดบรรยากาศ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  การเรียนรู้ของผู้เรียน และสร้างแรงบันดาลใจส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี)

 

ตัวอย่างที่ 2

ดำเนินการจัดบรรยากาศเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และนวัตกรรม ดังนี้

7.1 จัดบรรยากาศที่เหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียนรายบุคคล เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุกทั้งในห้องเรียนปกติ และห้องเรียนออนไลน์ สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยเฉพาะการบรรยากาศเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ โดยเน้นการส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ด้วยวิธีการสร้างแรงบันดาลใจ 6 Step Inspiration Model ดังนี้

1) การจัดชั้นเรียนให้เหมาะสม

2) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่เป็นมิตร และผ่อนคลาย การสร้างรูปแบบการเรียนใหม่ ๆ

3) การเน้นสื่อและกิจกรรมหลากหลายเพื่อให้เด็กได้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน กระตุ้นโดยการเล่าเรื่องเพื่อให้เกิดแรงบันดาลใจ

4) การยกย่องและชมเชย

5) การให้ผู้เรียนได้พบเจอประสบการณ์ที่หลากหลาย ผ่านสถานที่ หรือสื่อต่างๆ

6) กระตุ้นการสร้างองค์ความรู้ และการเรียนรู้ใหม่โดยการปลูกฝังนิสัยความอยากรู้อยากเห็น

7.2 จัดบรรยากาศห้องเรียนให้ได้มาตรฐานห้องเรียนคุณภาพ (Onsite) ดังนี้

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพมาตรฐานและผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตร

2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน โดยออกแบบการจัดหน่วยการเรียนรู้ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan) เพื่อกำหนดผลการเรียนรู้ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ริเริ่มสอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียนรายบุคคล

3) การใช้ Google Workspace for Education เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก

4) การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) โดยปฏิบัติต่อเด็กในฐานะผู้กำลังเรียนรู้โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง และเคารพในศักดิ์ศรี ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมหรือคุณลักษณะด้วยกระบวนการเสริมแรงเชิงบวก

7.3 จัดกระบวนการเรียนรู้ (Online) โดยใช้เครื่องมือแอปพลิเคชันในการเรียนออนไลน์หลัก ๆ ได้แก่ Line Zoom และ Google Meet โดยใช้รูปแบบการเรียนเรียนรู้เชิงรุก และวิธีการสอนที่มีความหลากหลาย ในการบริหารและจัดเวลาการเรียนที่ยืดหยุ่นอย่างมีประสิทธิภาพ ให้สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนรายบุคคลดังนี้

– Step 1 G ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนทักทาย (Greeting)

– Step 2 O ขั้นสอนออนไลน์ให้ความรู้ (Online Learning) / มอบหมายภาระงาน (Online Assignment)

– Step 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Checking)

– Step 4 Q ขั้นตอบข้อซักถามสะท้อนผลการเรียนรู้ (Q&A Meeting)

– Step 5 F ขั้นติดตามประเมินผล (Following Up)

7.4 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี)

  1. อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน

8.1 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน โดย ริเริ่ม คิดค้นและพัฒนาวิธีการอบรม และพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียนจากโครงการ…..(เช่น โรงเรียนวิถีพุทธ) เพื่อการอบรมบ่มนิสัยของผู้เรียนวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… โดยคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  และพัฒนาผู้เรียน ดังนี้

– มีการอบรมรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์

– จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น โรงเรียนวิถีพุทธ

8.2 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน)

 
ผลลัพธ์ (Outcomes)ตัวชี้วัด (Indicators)
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2. ผู้เรียนมีทักษะตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3. ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
4. ผู้เรียนมีสมรรถนะตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
5. ผู้เรียนมี…………….ตามค่าเป้าหมายที่กำหนด (เขียนผลลัพธ์ (Outcomes) ตามประเด็นท้าทายที่ผู้สอนกำหนดเอง)   
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..มีทักษะตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..ผ่านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
4. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..มีสมรรถนะตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
5. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……..มี……….ตามค่าเป้าหมายที่กำหนด(เขียนผลลัพธ์ (Outcomes) ตามประเด็นท้าทายที่ผู้สอนกำหนดเอง)
2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการเรียนรู้ 

ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา การดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา และการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ

งาน (Tasks)

หมายถึงงานที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ)

ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/2565

  1. จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา

1.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา โดยริเริ่ม คิดค้นและพัฒนาเว็บไซต์รายวิชาด้วย Google Site (หรือแฟ้มรายงาน) เพื่อการจัดทำ และรายงานข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………และวิชา…………… รหัสวิชา…………………….ให้มีข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 

1.2 มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยมีข้อมูลเป็นปัจจุบัน ดังนี้

– แบบ ปพ.5 , ปพ.6

– แบบบันทึกกิจกรรมโฮมรูม

– แบบบันทึกคุณลักษณะอันพึงประสงค์

– แบบบันทึกการอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน

– แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

– แบบบันทึกการสอนซ่อมเสริมนักเรียน

– แบบบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน

– แบบบันทึกการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

– แบบบันทึกผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

2. จัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

2.1 ใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล ตามที่สถานศึกษากำหนด เพื่อจัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดย ในรายวิชา…………… รหัสวิชา……………………………..และวิชา…………… รหัสวิชา…………………….และประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาผู้เรียน โดยจัดทำช่องทางการเผยแพร่โดยพัฒนาเว็บไซต์รายวิชาด้วย Google Siteพื่อการจัดทำ และรายงานข้อมูลสารสนเทศผลการประเมินผู้เรียนต่อผู้ปกครองรายบุคคล เพื่อการางแผนพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน

2.2 ริเริ่มโครงการหรือจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนโดยจัดกิจกรรม…………….(ตัวอย่าง เช่น การสร้างแรงบันดาลใจ 6 Step Inspiration Model) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) เพื่อพัฒนา และแก้ไขปัญหาผู้เรียน

2.3 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการจัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการจัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน)

3. ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา 

ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการพัฒนารูปแบบหรือแนวทางการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ดังนี้

 – ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงาน อื่น ๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

– ร่วมกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

– ร่วมกิจกรรมการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

– ร่วมกิจกรรมการจัดทำ SAR

โดยมีรูปแบบ…………….เพื่อการดำเนินการ และ/หรือแนวทาง…………….(ตัวอย่าง ด้วยการพัฒนาเว็บไซต์รายวิชาโดยใช้ Google Sites) เพื่อการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา)

4. ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดี

4.1 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อร่วมกันแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู) และพัฒนาผู้เรียน ดังนี้
 
– การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
 
– ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนา ผู้เรียน
 
– ร่วมกิจกรรมประชุมผู้ปกครอง 1 ครั้ง/ภาคเรียน
 
– จัดให้มีช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย เป็นต้น
 
4.2 เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดี (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดี)

 

ผลลัพธ์ (Outcomes)ตัวชี้วัด (Indicators)
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. นักเรียนได้รับการสนับสนุน ช่วยเหลือดูแลทั้งด้านวิชาการและส่งเสริมลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์รวมทั้งทักษะและสมรรถนะสำคัญผู้เรียน
2. นักเรียนได้รับการแก้ไขหรือพัฒนาทั้งด้านวิชาการ ลักษณะนิสัยอันพึงประสงค์รวมทั้งทักษะ และสมรรถนะสำคัญผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. ผู้เรียนไม่เกินร้อยละ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไม่พึงประสงค์
(เกรด 0, มผ. , มส.)
2. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ……………… มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา………..ไม่น้อยกว่าคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ…………….ตามค่าเป้าหมายสถานศึกษา
3. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ………….. ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรในระดับดีขึ้นไป
4. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ………….. ผ่านเกณฑ์การประเมินทักษะ และสมรรถนะสำคัญผู้เรียนในระดับ……….ขึ้นไป

3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และการนำความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/2565

1. พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ทักษะ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษาสมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอน โดยจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ปีงบประมาณ ……... พัฒนาตนเองด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย  เช่น

– พัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทย

– พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ

– พัฒนาการใช้เทคโนโลยี

รวมถึงพัฒนาตนเองในด้านสมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอนที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง)

2. มีส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับกลุ่มสาระ…………………  และหรือระดับโรงเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมสำหรับกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก…………….(ตัวอย่าง เช่น การสร้างแรงบันดาลใจ 6 Step Inspiration Model) ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………… สำหรับใช้แก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  .และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการมีส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ  (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องการมีส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ )

3. นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยการพัฒนา………….(ตัวอย่าง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom)  และพัฒนาแหล่งเรียนรู้………. (ตัวอย่าง เว็บไซต์รายวิชา ด้วย Google Sites) ให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก โดยพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ………….(รูปแบบการเรียนการสอนที่ต้องการ) ในวิชา…………… รหัสวิชา………………………………หน่วยที่……………….เพื่อแก้ปัญหา………………………….(ประเด็นท้าทายของครู)  ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน และเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยการเผยแพร่ในเว็บไซต์กลุ่มสาระ…………… ในเรื่องของการนำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (หรือ ด้วยการเป็นผู้นำในกลุ่มชุมชนทางวิชาชีพ…………….. (ตัวอย่าง ในกลุ่มภาษาไทย) ในเรื่องกานำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้)

 

 

ผลลัพธ์ (Outcomes)ตัวชี้วัด (Indicators)
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. นักเรียนได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาในด้านการเรียนรู้จำนวน…….หน่วย(หรือในหน่วยที่…………)
2. นักเรียนได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาทักษะ……..
3. นักเรียนได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
4. นักเรียนได้รับการการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาด้านสมรรถนะสำคัญผู้เรียน
ภาคเรียนที่ 2/2564 และภาคเรียนที่ 1/25651) 
1. นักเรียนร้อยละ ………………ได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาในด้านการเรียนรู้จำนวน…….หน่วย(หรือในหน่วยที่…………) ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2. นักเรียนร้อยละ ………………ได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาทักษะ……..ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
3. นักเรียนร้อยละ ………………ได้รับการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
4. นักเรียนร้อยละ ………………ได้รับการการแก้ปัญหา…………….หรือพัฒนาด้านสมรรถนะสำคัญผู้เรียนตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา

หมายเหตุ

1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน. ตามแบบให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง

2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมิน ผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

 ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การริเริ่ม พัฒนา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามค่าเป้าหมายสถานศึกษาที่กำหนด โดยใช้วิธีการสอนแบบ………. วิชา…………………… รหัสวิชา…………………….ชั้นมัธยมศึกษาปีที่……………. ภาคเรียนที่…………ปีการศึกษา ………. 

** หัวข้อนี้สำหรับผู้ที่ต้องการคงวิทยฐานะ และเลื่อนเงินเดือนครับ

  1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้

                ………………………………………………………………………………………………………………………………………

  1. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

2.1 ศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้……………………..โดยใช้วิธีการสอนแบบ………. วิชา…………………… รหัสวิชา…………………….ชั้นมัธยมศึกษาปีที่……………. ภาคเรียนที่…………ปีการศึกษา ……….ตามมาตรฐานการเรียนรู้แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2560

2.2 ออกแบบการเรียนรู้ และนวัตกรรมแบบฝึกหัดที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเรียนรู้……………………..โดยใช้วิธีการสอนแบบ……….

2.3 ประเมินผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนเรียนทุกหน่วยการเรียนรู้

2.4 ดำเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่วางไว้

2.5 ประเมินผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเรียนกิจกรรมการเรียนรู้……………………..โดยใช้วิธีการสอนแบบ………. วิชา…………………… รหัสวิชา…………………….ชั้นมัธยมศึกษาปีที่……………. ภาคเรียนที่…………ปีการศึกษา ……….ของผู้เรียนและวิเคราะห์สรุปผล

  1. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

3.1 เชิงปริมาณ        

          3.1.1 นักเรียนที่เรียนวิชา……….. รหัสวิชา ………….ไม่น้อยกว่าร้อยละ ……………มีผลสัมฤทธิ์ (K) ทางการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไม่น้อยกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ …………….

3.1.2 นักเรียนที่เรียนวิชา…………. รหัสวิชา…………..ไม่น้อยกว่าร้อยละ………….ผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะการคิด (C) และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ในการเรียนรู้………………ไม่น้อยกว่าร้อยละ………………..ทุกแผนการจัดการเรียนรู้

3.1.3 นักเรียนที่เรียนวิชา………………………. รหัสวิชา………………..มีผลงาน/ชิ้นงานที่สะท้อน (P)ความคิดสร้างสรรค์และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างน้อย 1 ชิ้นงาน

3.2 เชิงคุณภาพ

3.2.1 แผนการจัดการเรียนที่สอนโดยใช้วิธีการสอนแบบ………………ทีใช้สอนวิชา……………………… รหัสวิชา……………..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ……………… มีคุณภาพในระดับ………..ขึ้นไปทุกแผนการจัดการเรียนรู้ (K)

3.2.2 นักเรียนเป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน เกิดทักษะและกระบวนการ…………………………. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ในการเรียนรู้………………………. และค้นพบองค์ความรู้หรือสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง (C,P)

3.2.3 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียวิชา……………….ที่สอนโดยใช้วิธีการสอบแบบ………………  ระดับ…………………….. ซึ่งประเมินจากแบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale)

Comments

comments

ติดต่อ ดร.อนุศร หงษ์ขุนทด
error: Content is protected !!