Site icon Digital Learning Classroom

โครงการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

แชร์เรื่องนี้

โครงการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ฝึกอบรมระหว่างวันที่ 2 มิถุนายน – 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565

สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันที่ 7 มิถุนายน 2565 เท่านั้น!!!

ลิงค์สำหรับกรอกข้อมูลส่วนตัว ของผู้สนใจเข้าร่วมอบรมโครงการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลขั้นพื้นฐาน
https://forms.gle/4fz1HqGjdANJJhns7

ลิงค์สำหรับเข้าสู่ระบบ
https://learning-obec.com

กรอบมาตรฐานสมรรถนะดิจิทัลระดับพื้นฐาน (Basic Digital Competency : DC1 – DC3)

ขั้นตอนการเริ่มใช้งานระบบพัฒนาสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency)

ลิงค์สำหรับกรอกข้อมูลส่วนตัว ของผู้สนใจเข้าร่วมอบรมโครงการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลขั้นพื้นฐาน
https://forms.gle/4fz1HqGjdANJJhns7

ทำการลงทะเบียนเข้ารับการอบรมโดยกรอกข้อมูลให้ครบล โดยเฉพาะ วัน เดือน ปีเกิด (จะนำไปใช้เป้นรหัสผ่าน)

ทำการลงชื่อเข้าใช้งาน https://learning-obec.com


กรอกข้อมูล เลขประจำตัวประชาชน และรหัสคือ วันเดือนปีเกิด

ดำเนินการกรอกข้อมูลส่วนตัวให้ครบ

จากนั้นจะปรากฏหลักสูตร DC1-DC3 ให้ทำการเลือก

จะปรากฏหลักสูตร DC1 สามารถคลิกเมาส์เข้าเรียนได้ทันที

เมนู เรียน

เนื้อหาการเรียนจะประกอบไปด้วย 8 หน่วยการเรียนรู้

หน่วยที่ 1 แนะนำ Digital Quotient, Digital Citizenship และ Digital Literacy

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Quotient)

บทที่ 3.1 ความฉลาดทางดิจิทัลคืออะไร

บทที่ 3.2 ความฉลาดทางดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

บทที่ 3.3 กรอบความรู้ของความฉลาดทางดิจิทัล

บทที่ 3.4 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับความฉลาดทางดิจิทัล

บทที่ 4 ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship)

บทที่ 4.1 ความเป็นพลเมืองดิจิทัลคืออะไร

บทที่ 4.2 ความเป็นพลเมืองดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

บทที่ 4.3 กรอบความรู้ของความเป็นพลเมืองดิจิทัล

บทที่ 4.4 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดิจิทัล

บทที่ 5 การเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy)

บทที่ 5.1 การเข้าใจดิจิทัลคืออะไร

บทที่ 5.2 การเข้าใจดิจิทัลมีประโยชน์อย่างไร

บทที่ 5.3 กรอบความรู้ของการเข้าใจดิจิทัล

บทที่ 5.4 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการเข้าใจดิจิทัล

บทที่ 6 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 2 มารยาทในสังคมดิจิทัล (Digital Etiquette)

หน่วยที่ 3 รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ (Media and Information Literacy)

เนื้อหาในหน่วยที่ 3 รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ (Media and Information Literacy)

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 หลักการพื้นฐานของสื่อและผู้เผยแพร่สื่อ

บทที่ 4 แนวคิดการรู้เท่าทันและวิเคราะห์สื่อ

บทที่ 5 รู้เท่าทันข่าวปลอมจากสื่อดิจิทัล

บทที่ 6 การจัดการสารสนเทศสำหรับสื่อดิจิทัล

บทที่ 7 การส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อ           

บทที่ 8 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

 

หน่วยที่ 4 ทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้และบำรุงรักษาอุปกรณ์ดิจิทัล

เนื้อหาในหน่วยที่ 4 ทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้และบำรุงรักษาอุปกรณ์ดิจิทัล

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 อุปกรณ์ดิจิทัล

บทที่ 4 การใช้งานและการบำรุงรักษา

บทที่ 5 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 5 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลพื้นฐาน (Using Basic Digital Technology) เพื่อสนับสนุนกระบวน การทำงาน

เนื้อหาในหน่วยที่ 5 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลพื้นฐาน (Using Basic Digital Technology) เพื่อสนับสนุนกระบวน การทำงาน

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนกระบวนการทำงาน

บทที่ 4 ซอฟต์แวร์เฉพาะกิจ

บทที่ 5 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 6 การวิเคราะห์ภารกิจให้รู้เป้าหมาย พันธกิจ และกระบวนการทำงาน โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนในการทำงานร่วมกัน

เนื้อหาในหน่วยที่ 6 การวิเคราะห์ภารกิจให้รู้เป้าหมาย พันธกิจ และกระบวนการทำงาน โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนในการทำงานร่วมกัน

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 การปรับเปลี่ยนเป็นเทคโนโลยีดิจิทัล

บทที่ 4 แนวทางการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้งาน

บทที่ 5 ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนเป็นดิจิทัลเบื้องต้น

บทที่ 6 ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนเป็นดิจิทัลของงานการศึกษา

บทที่ 7 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 7 การเชื่อมโยงข้อมูลในการสนับสนุนกระบวนการ

เนื้อหมาใน หน่วยที่ 7 การเชื่อมโยงข้อมูลในการสนับสนุนกระบวนการ

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 การเชื่อมโยงข้อมูลในการสนับสนุนการทำงาน

บทที่ 4 แนวทางและเทคโนโลยีสำหรับการเชื่อมโยงข้อมูล

บทที่ 5 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

หน่วยที่ 8 ความมั่นคงปลอดภัยทางดิจิทัล (Digital Security)

เนื้อหาในหน่วยที่ 8 ความมั่นคงปลอดภัยทางดิจิทัล (Digital Security)

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 ประเด็นคำถามสำคัญ

บทที่ 3 ความมั่นคงปลอดภัย (Security)

บทที่ 4 ความเป็นส่วนตัว (Privacy)

บทที่ 5 สรุปประเด็นและตอบคำถาม

เมนู สถานะการเรียน

เมนู ประวัติการเรียน

เมนูสอบออนไลน์

เมนูแจ้งปัญหา

เมนูรายงาน

เมนูออกจากระบบ

Comments

comments

Powered by Facebook Comments

Exit mobile version