fbpx
Digital Learning Classroom
หนังสือคู่มือ

แนวทางการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เรียนทุกช่วงวัย : กรณีศึกษาของต่างประเทศและประเทศไทย

แชร์เรื่องนี้

แนวทางการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เรียนทุกช่วงวัย : กรณีศึกษาของต่างประเทศและประเทศไทย (ฉบับเข้าใจง่าย)

แนะนำเนื้อหาในหนังสือ

  • ความสำคัญในการพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัล
  • แนวคิดในการพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัล
  • ความฉลาดทางดิจิทัล คืออะไร ?
  • ทำไมจึงต้องพัฒนา DQ ?
  • สภาพการณ์สังคมดิจิทัลของประเทศไทยในปัจจุบัน
  • Digital Intelligence (DQ) Framework คืออะไร ?
    • คุณสมบัติของ “DQ”
    • 8 Areas of Digital Life
    • สมรรถนะ 8 ด้าน ของ DQ
    • การพัฒนา DQ อย่างต่อเนื่องใน 3 ระดับ
    • สมรรถนะความฉลาดทางดิจิทัล 24 ด้าน
  • ความสำคัญของ “DQ” กับ ความพร้อมในอนาคต
    • การใช้ DQ เป็นมาตรฐานระดับโลก
    • ประโยชน์ของ DQ Framework
    • มุมมองของภาคการศึกษา
    • ทักษะที่เกี่ยวข้องในการรู้ดิจิทัล
  • กรณีศึกษาประเทศที่มีแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาเครือข่าย
    • ความร่วมมือการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัล
    • กลุ่มสหภาพยุโรป (EU)
    • ประเทศเดนมาร์ก
    • ประเทศสิงคโปร์
    • ประเทศสหรัฐอเมริกา
    • ประเทศไทย
  • ข้อค้นพบจากความสอดคล้องหรือความแตกต่าง : แนวทางการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เรียนทุกช่วงวัย
    • การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
    • รูปแบบของเครือข่ายความร่วมมือ
    • หลักของความฉลาดทางดิจิทัลที่แต่ละประเทศมุ่งเน้นพัฒนา
    • สิ่งสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัล
  • ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เรียนทุกช่วงวัย
    • ประเด็นที่ 1 การสร้างนิเวศการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เรียนทุกช่วงวัย
      • นิเวศการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัล (DQ):
        ประเทศเดนมาร์ก
        ประเทศสิงคโปร์
        ประเทศสหรัฐอเมริกา
        ประเทศไทย
    • ข้อเสนอนิเวศการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัล (DQ)
    • ประเด็นที่ 2 แนวทางการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผู้เรียนทุกช่วงวัย “ในบริบทของประเทศไทย”
      ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน
      ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้แห่งชาติ
      ขั้นตอนที่ 3 การจัดการเรียนรู้
      ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาชุมชนการเรียนรู้
      ขั้นตอนที่ 5 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล

Download ได้ที่ : https://www.onec.go.th/th.php/book/BookView/2033

ขอบคุณการเผยแพร่จาก สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

Comments

comments

Powered by Facebook Comments

ติดต่อ ดร.อนุศร หงษ์ขุนทด
error: Content is protected !!